top of page
6566.jpg

TYPE AI

"TYPE AI"
 

เปิดตัวทุน

มช.ผลักดันการเรียนรู้ด้วย "Generative AI"

เพื่อสร้างแนวทาง "การจัดการเรียนรู้" และ "การพัฒนาอาจารย์" เพื่อจัดการเรียนรู้ที่มี AI

(โดยเฉพาะ Large Language Model; LLM) เป็นเครื่องมือ

2631826_8162.jpg

ที่มา และวัตถุประสงค์ของโครงการ นำ AI มาใช้ประโยชน์อย่างไร

2631826_8162.jpg

เงื่อนไขในการสมัคร

และวิธีการสมัครโครงการ

2631826_8162.jpg

กำหนดการในการดำเนินการ

ตั้งแต่สมัครจนถึง Show & Share

รับทุนสนับสนุนสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท

29724.jpg

     ทุน Generative AI สำหรับใช้พัฒนาการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 1/2567  โดยมีจุดประสงค์ในการให้ทุน คือ 1.สร้างแนวทาง "การจัดการเรียนรู้" ที่มี AI (โดยเฉพาะ Large Language Model; LLM) เป็นเครื่องมือ และ 2. สร้างแนวทาง "การพัฒนาอาจารย์" เพื่อจัดการเรียนรู้ที่มี AI (LLM) เป็นเครื่องมือ 

     โดยให้ AI มีส่วนช่วยในการเพิ่มประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับผู้เรียนและอาจารย์ ไม่ว่าจะเป็นการช่วยผู้สอนในด้านต่างๆ เช่น การใช้ AI สร้างแบบฝึกหัด ออกแบบรูปแบบการเรียนรู้ ออกข้อสอบหรือตั้งคำถามท้ายหน่วยการเรียน ออกแบบ Rubrics ในการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ และวิเคราะห์ความชอบของนักเรียนแต่ละคน เพื่อสร้างเส้นทางการเรียนรู้ส่วนบุคคลหรือมีส่วนในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนในการนำ AI

มาใช้ในการเรียนหรือการสอบอย่างเหมาะสม 

     ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยฯ ได้สนับสนุนทุนแก่อาจารย์(สูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท) ในการ ใช้งาน Generative AI เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ ว่าระบบอัจฉริยะเหล่านี้สามารถสร้างแรงขับเคลื่อนและมีส่วนช่วยในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้สอนได้จริงและมีประสิทธิภาพ… 

ที่มาและวัตถุประสงค์โครงการ
 

Coach

Coach

ผู้มากประสบการณ์ที่พร้อมนำพาอาจารย์ไปสู่ผลลัพธ์ที่คาดหวัง

 

 

รศ.ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร

(คณะบริหารธุรกิจ) 

ผู้มากประสบการณ์ในการใช้ AI

จัดการเรียนรู้

“Let's Power-up Teaching to 
Personalized Learning with AI” 

รศ.ดร. รัฐสิทธิ์ สุขะหุต

รองอธิการบดี

ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล

“CMU's AI-Driven Education.
We will enable creativity and
elevate productivity to new frontiers.”

รศ.ดร. ถนอมพร เลาหจรัสแสง

(คณะศึกษาศาสตร์)

ผู้เปี่ยมประสบการณ์ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีการเรียนรู้

“You will help CMU realize classroom revolutionization through AI” 

อ.ดร. อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ 

ผู้อำนวยการ
ศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ 

“There has never been a better time 
for higher-order-thinking-skills 
to become what future learning 
is about." 

รายละเอียดข้อมูลทุน

รายละเอียดข้อมูลทุน
 

50014.jpg

ประยุกต์ใช้ AI (โดยเฉพาะ Large Language Model; LLM) ตามแนวทาง 

  • ผู้นำทางความคิด - เป็นแนวตั้งต้นออกแบบการเรียนรู้ 

  • ติวเตอร์ส่วนตัว - ให้คำแนะนำตามบริบทของผู้ใช้ 

  • ผู้ประสานงาน - AI เป็นส่วนหนึ่งในการค้นคว้า
    นำเสนอแนวคิด 

  • คู่ปรึกษาแบบโซคราติก-สนับสนุนการโต้แย้ง วิจารณ์ 

  • สร้างแรงจูงใจ-กระตุ้นให้เกิดการวิเคราะห์
    กระตุ้น ท้าทาย 

ประสงค์ออกแบบการเรียนรู้ที่บรูณาการ AI ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น 

  • พัฒนากิจกรรมเดิม - ปรับกิจกรรมการเรียนรู้
    รูปแบบเดิม เพื่อให้นักศึกษา หรืออาจารย์สามารถใช้ประโยชน์จาก AI ในการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ 

  • สร้างกิจกรรมใหม่ - สร้างกิจกรรมหรือวิธีการเรียนรู้ใหม่ ๆ ที่ใช้ AI เป็นกลไกสำคัญ 

  • การวัดและประเมินผล - พัฒนาแนวทางการใช้ AI ให้เป็นประโยชน์ในการวัดและประเมินผล 

  • อื่น ๆ - พัฒนาแนวทางอื่นที่ส่งเสริมการใช้ AI กับนักศึกษาเพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ได้ดีขึ้น 

634.jpg
49398.jpg

เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ 

  • นำสิ่งที่ได้พัฒนาจากการจัดการเรียนรู้ด้วย Generative AI มาเผยแพร่

  • ถ่ายทอดประสบการณ์การใช้งาน ผ่านรูปแบบของบทความหรือกิจกรรม Show & Share เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ ในการใช้ Generative AI ในการจัดการเรียนรู้ 

นำไปใช้งานกับนักศึกษา 

  • ให้นักศึกษาได้เป็นผู้เข้ามาใช้สิ่งที่อาจารย์พัฒนาขึ้น 

49924.jpg
bottom of page