STEM x GoGo Board
โครงการวิจัยพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้สะเต็มศึกษาและทักษะด้านดิจิทัล
เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพและผลลัพธ์การเรียนรู้
ของผู้เรียนที่ใช้งานชุดสมองกลเพื่อการเรียนรู้ GoGo Board
โครงการวิจัยพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้สะเต็มศึกษาและทักษะด้านดิจิทัล เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาชุดสมองกลเพื่อการเรียนรู้ GoGo Board เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสะเต็มศึกษาและทักษะดิจิทัล โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาต่อยอดแพลตฟอร์มการเรียนรู้ ศึกษาประสิทธิผล และเปรียบเทียบผลการใช้งานระหว่างประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และบราซิล
โดยเน้นการบูรณาการเทคโนโลยีกับ Design Thinking ซึ่งเป็นกระบวนการคิดเชิงออกแบบ ที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และเน้นความต้องการของผู้ใช้งาน เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
แนะนำโครงการ
ทีมวิจัย
อ.ดร.อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.สุทธิดา จำรัส
ภาควิชาหลักสูตร การสอนและการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.พรรัตน์ วัฒนกสิวิชช์
ภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.ดร.สุธาสินี โทวุฒิกุล
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร.มณิษวาส จินตพิทักษ์
สาขาวิชาแอนนิเมชันและวิชวลเอฟเฟกต์
สำนักวิชาการศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร.ธนาทิพย์ จันทร์คง
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นางสาวกนกพร อินต๊ะแก้ว
ผู้ช่วยวิจัยโครงการ
นางสาวนลินทิพย์ พรมซาว
ผู้ช่วยวิจัยโครงการ
นายอนุสรณ์ อภิญดา
ผู้ช่วยวิจัยโครงการ
นายพีรณัฐ พงศ์ภคเธียร
ผู้ช่วยวิจัยโครงการ
นางสาวกิ่งกาญจน์ ถุงแก้ว
เจ้าหน้าที่โครงการ
นายภูวดล ปลอดภัย
เจ้าหน้าที่โครงการ
รายละเอียดกิจกรรม
ค่ายนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม
ค่ายครู
7-21 กันยายน 2567
ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
-
MOOC: Design Thinking
-
โมดูล 0: การใช้ GoGo Board เบื้องต้น
-
โมดูล 1: ระบบอัตโนมัติ
-
โมดูล 2: IoT
⭐สิ่งที่ได้เมื่อเข้าร่วมกิจกรรม
-
เกียรติบัตรจาก CMU Lifelong
Online Course
Onsite Bootcamp
15 – 18 ตุลาคม 2567
(จำนวน 60 คน)
โมดูลการเรียนรู้ 1 – 5
นำเสนอ Prototype
⭐สิ่งที่ได้เมื่อเข้าร่วมกิจกรรม
-
ได้รับชุดสมองกล GoGo Board 1 ชุด/โรงเรียน
และเกียรติบัตรจาก TLIC
📌สถานที่จัดงาน: อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (STeP) ห้อง D405
Online Presentation
9 พฤศจิกายน 2567
(จำนวน 60 คน)
การนำเสนอโครงงานและ
การให้ feedbackเพื่อลงมือทำโครงงาน
⭐สิ่งที่ได้เมื่อเข้าร่วมกิจกรรม
-
ทีมที่ผ่านการคัดเลือกจะได้รับทุนในการทำ Prototype วงเงินไม่เกิน 8000 บาท/กลุ่ม
Clinic Day (Onsite)
30 พฤศจิกายน 2567
(จำนวน 32 คน)
ผู้เข้าร่วมวิจัยมาใช้เครื่องมือที่จำเป็น
ในการแก้ไขโครงงานที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
📌สถานที่จัดงาน: ห้อง Active Classroom 1
ศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ มช.
Prototype Presentation (Onsite)
1 ธันวาคม 2567
(จำนวน 32 คน)
นำเสนอโครงงานและ prototype
⭐สิ่งที่ได้เมื่อเข้าร่วมกิจกรรม
ได้รับรางวัลและเกียรติบัตรจาก TLIC
📌สถานที่จัดงาน: ห้อง Active Classroom 1
ศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ มช.
กลุ่ม Line สำหรับติดต่อผู้ที่สมัครค่าย
ในรอบที่ 1: Online Course
(ค่ายนักเรียนและค่ายครู)
Online Course
ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
-
MOOC: Design Thinking
-
โมดูล 0: การใช้ GoGo Board เบื้องต้น
-
โมดูล 1: ระบบอัตโนมัติ
-
โมดูล 2: IoT
⭐สิ่งที่ได้เมื่อเข้าร่วมกิจกรรม
-
เกียรติบัตรจาก CMU Lifelong
7-21 กันยายน 2567
Onsite Bootcamp
4 ตุลาคม 2567
(จำนวน 30 คน)
โมดูลการเรียนรู้ 1 – 5
⭐สิ่งที่ได้เมื่อเข้าร่วมกิจกรรม
-
เกียรติบัตรจาก TLIC
📌สถานที่จัดงาน: ห้อง Active Classroom 1
ศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ มช.
Focus Group (Online)
2-6 ธันวาคม 2567
(จำนวน 30 คน)
ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกจำนวน 30 ท่าน
เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเก็บข้อมูลและสะท้อนผลจากการทำกิจกรรมการเรียนรู้
ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting จำนวน 1 ครั้ง